เมนู

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 60. จิตตสมุฏฐานทุกะ 7. ปัญหาวาร
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล)
อินทรีย์ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย
อินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์
ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย
จักขุนทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณโดยอินทรีย-
ปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ (3)
[226] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีจิตเป็น
สมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป
โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์และอุเบกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์และสุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์
และทุกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย
(พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็น
สมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) ในปฏิสนธิขณะ
อินทรีย์ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และกฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย จักขุนทรีย์และอุเปกขินทรีย์เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
และสัมปยุตตขันธ์โดยอินทรียปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ (3)
... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี 3 วาระ
... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี 3 วาระ
... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี 5 วาระ ฯลฯ

วิปปยุตตปัจจัย
[227] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็น
สมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (ย่อ) (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :128 }


พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน] 60. จิตตสมุฏฐานทุกะ 7. ปัญหาวาร
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ
(ย่อ) (3)
[228] สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเ
ป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ
สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ จิตเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตต-
ปัจจัย จิตเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดย
วิปปยุตตปัจจัย
ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่จิตโดยวิปปยุตตปัจจัย
ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนซึ่ง
ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย (1)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
โดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (2)
สภาวธรรมที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
และที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 3 อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (3)
[229] สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและที่ไม่มีจิตเป็นสมุฏฐานเป็นปัจจัย
แก่สภาวธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานโดยวิปปยุตตปัจจัย มี 2 อย่าง คือ สหชาตะ
และปัจฉาชาตะ (ย่อ) (1)

{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : 43 หน้า :129 }